หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
 
รู้อดีต รู้ปัจจุบัน รู้พิพิธภัณฑ์ รู้จันเสน เก็บตกสาระการอบรมยุวมัคคุเทศก์ พิพิธภัณฑ์จันเสน รุ่น ๑๗

เมื่อพูดถึง “วัดจันเสน” ในอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ผู้คนทั่วไปคงจะนึกถึง “หลวงพ่อโอด” หรือพระครูนิสัยจริยคุณอดีตพระเกจิอาจารย์รูปสำคัญรูปหนึ่งในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและอดีตเจ้าอาวาสวัดจันเสน

โดย ธีรวัตน์ แสนคำ
 
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
โดย ศรีศักร วัลลิโภดม
จับกระแสพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นควรสร้างเพื่อใคร?
โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
พิพิธภัณฑ์กับการศึกษานอกระบบ
โดย ศรีศักร วัลลิโภดม
เปิดประเด็น : พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น [local museum] และการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน [sustainable tourism]
โดย ศรีศักร วัลลิโภดม


   
พิพิธภัณฑ์บ้านเขายี่สาร : วัดเขายี่สารและศิลปกรรมในพุทธศาสนา และภาพจิตรกรรมเรื่องพุทธประวัติ

วัดเขายี่สาร ถือเป็นศูนย์กลางทางความเชื่อและสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ชาวบ้านจะมาพบปะและทำบุญร่วมกันในวันพระและงานประเพณีสำคัญในรอบปี พระอุโบสถวัดเขายี่สารบูรณะใหม่ประดับลวดลายปูนปั้นด้วยฝีมือช่างเมืองเพชร ภายในมีภาพจิตรกรรมฝีมือเดิมที่บานหน้าต่างเป็นรูปบุคคลในพงศาวดารจีน

โดย มูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
พิพิธภัณฑ์บ้านเขายี่สาร : สิ่งของเครื่องใช้พื้นบ้านที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์
โดย มูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
พิพิธภัณฑ์บ้านเขายี่สาร : การเปลี่ยนแปลงและสู่อนาคตของยี่สาร
โดย มูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
ภูมิปัญญาบ้านยี่สาร และ ถ่านไม้โกงกาง
โดย มูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
พิพิธภัณฑ์บ้านเขายี่สาร : ความเชื่อและพิธีกรรมพ่อปู่ศรีราชา และพ่อปู่หัวละมาน
โดย มูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
 
   
ทำด้วยใจ : อยากให้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็ก

ทางวัดไม่ได้ขวนขวายให้มีนักท่องเที่ยว...ไม่หวังผลในส่วนนั้น แต่อยากทำพิพิธภัณฑ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน วิชาเรียนที่เกี่ยวกับท้องถิ่นก็ให้มาหาที่วัด อย่างน้อยวัดก็ช่วยในศิลปะหรือความเป็นมาที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นได้ ช่วยการปลูกฝังให้เด็กเหมือนคนใส่บาตรที่คิดว่าต่อไปน่าจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและอนุชนรุ่นหลัง

โดย มูลนิธิเล็ก – ประไพ วิริยะพันธุ์
 
   
หนังใหญ่ ด่านขนอน และพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่วัดขนอน

วัดขนอนตั้งอยู่ตำบลสร้อยฟ้า อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นที่รู้จักกันของคนทั่วไปโดยเชื่อว่าในอดีตสถานที่นี้เป็นที่ตั้งด่านเก็บภาษีอากรในสมัยโบราณที่เรียกว่า ‘ขนอน ’ ซึ่งเป็นด่านเรียกเก็บภาษีทั้งในรูปของเงินและสิ่งของต่างๆ ผู้คนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้จึงใช้ชื่อที่ติดมาแต่เดิมและเรียกวัดนี้ว่า ‘วัดขนอนโพธาวาส ’ เมื่อด่านขนอนได้ถูกยกเลิกไปจึงเชื่อกันว่า สิ่งของเครื่องใช้เป็นจำนวนมากถูกนำมาเก็บรักษาไว้ที่วัดขนอน

โดย บุญชัย บูรณวัฒนาโชค
 
   
ตลาดสามชุกวันนี้

นับจากยุคที่ตลาดสามชุกโรยราไปเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้ว พอพลิกฟื้นก็กลับกลายเป็นตลาดโบราณแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวแบบทันสมัย เมื่อไปเยี่ยมเยือนเพื่อนเก่าที่ตลาดสามชุกก็ทำให้เข้าใจในความเปลี่ยนแปลง ความมุ่งหวังในอนาคตและปัญหาที่ยังคงดำรงอยู่

โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
 
   
แว่วข่าวจากหนองขาว

หลังงานสงกรานต์ผ่านพ้น ชาวหนองขาวก็เริ่มเปรยๆ กันว่า อีกไม่กี่เดือนก็จะถึงเทศกาลงานเข้าพรรษา ปีนี้อยากให้จัดบวชนาคหมู่อีกครั้งเพราะไม่ได้เห็นมานานโข เมื่อทางวัดเห็นดีเห็นงามด้วยและรับอาสาเป็นหลัก ก็เริ่มเตรียมการด้วยการขึ้นป้ายรับสมัครผู้ที่ประสงค์จะมาอุปสมบทในปีนี้ กำหนดการที่ตั้งเตรียมไว้ก็คือ ปีนี้วัดหนองขาวจะจัดบวชนาคหมู่ในวันเสาร์ที่ ๘ กรกฎาคม

โดย วิชญดา ทองแดง
 
   
แนะนำพิพิธภัณฑสถานเมืองตราด

หากได้ยินชื่อ “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ” จะเห็นภาพของการเป็นพิพิธภัณฑ์ของหัวเมืองใหญ่ หรือเมืองที่มีสถานที่สำคัญ ทางประวัติศาสตร์ ด้วยกระแสการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่มีมากขึ้น จึงเกิดการปรับตัวของการจัดทำพิพิธภัณฑ์ที่นำความรู้ในเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นร่วมกับประวัติศาสตร์ภาพใหญ่จัดทำเป็น “พิพิธภัณฑ์เมือง” โดยพิพิธภัณฑสถานเมืองตราด จัดได้ว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ที่นำความรู้ในเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อแสดงให้เห็น วิถีชีวิตคนเมืองตราด ไม่เป็นเพียงพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรวบรวมเพียงวัตถุโบราณ 

โดย พชรพงษ์ พุฒซ้อน , กิตติคุณ โพธิ์ศรี
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นกับการทำลายมรดกทางวัฒนธรรมของคนแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โดยมูลนิธิเล็ก - ประไพ วิริยะพันธุ์
"พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น วัดพุน้ำร้อน ด่านช้าง" เรียนรู้และท่องเที่ยวริมเทือกเขาตะนาวศรี
โดยจารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
ชีวิตพิพิธภัณฑ์ที่ย่านวัดเกตุ
โดยเหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ
เสียงเพรียกจากคนใน: ท้องถิ่นและพิพิธภัณฑ์วัดเกตุฯ
โดยเหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ
 
 
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.