หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
 
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นสามชุก..บ้านขุนจำนงค์ จีนารักษ์
ข้อมูลทั้งหมดมี 6 ข้อมูล
1 จากทั้งหมด 1 หน้า
ตลาดสามชุกวันนี้
บทความโดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
เขียนเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 2561

นับจากยุคที่ตลาดสามชุกโรยราไปเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้ว พอพลิกฟื้นก็กลับกลายเป็นตลาดโบราณแบบใหม่เพื่อการท่องเที่ยวแบบทันสมัย เมื่อไปเยี่ยมเยือนเพื่อนเก่าที่ตลาดสามชุกก็ทำให้เข้าใจในความเปลี่ยนแปลง ความมุ่งหวังในอนาคตและปัญหาที่ยังคงดำรงอยู่

สามชุกกับรางวัลจากยูเนสโก: ความสำเร็จบนทางแพร่ง
บทความโดย เหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ
เขียนเมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2559

ปลายเดือนสิงหาคม ๒๕๕๒ ที่ผ่านมา มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ได้รับข่าวน่ายินดีว่า สามชุก ตลาดเก่าร้อยปี ได้รับรางวัล โครงการอนุรักษ์ชุมชนสามชุกและตลาดเก่าร้อยปี ชนะรางวัลดี (Award of Merit) จากการประกวดรางวัลเพื่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จากองค์การยูเนสโก โดยมีผู้ส่งผลงาน ๔๘ โครงการ จาก ๑๔ ประเทศ รางวัลดังกล่าวถือเป็นกำลังใจแก่คนทำงานพัฒนาพื้นที่สามชุก

สีสันของกาลเวลา ตลาดเรือนไม้และอาหารอร่อย
บทความโดย เบญจวรรณ จันทราช
เขียนเมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2559

วีถีชีวิตจากอดีตยังคงมีให้เห็นในย่านชุมชนเก่าแก่แห่งตลาดสามชุกในจังหวัดสุพรรณบุรี หลายคนชื่นชอบความสวยงามของอาคารห้องแถวเรือนไม้ สถาปัตยกรรมรูปแบบดั้งเดิมที่ผสมผสานเข้ากับวิถีชีวิตสมัยใหม่ได้อย่างไม่ขัดเขิน เป็นมนต์เสน่ห์ของตลาดเก่าริมแม่น้ำที่แทบจะเหลือให้ชมเพียงไม่กี่แห่งในประเทศนี้

มุมหนึ่งของตลาดเก่า
บทความโดย เบญจวรรณ จันทราช
เขียนเมื่อวันที่ 21 ก.ย. 2561

สิ่งหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวคนทั้งหลายให้รวมกันอยู่ได้ คือ สังคม ประเพณีและวัฒนธรรม ซึ่งในสังคมนั้นประกอบด้วยกลุ่มคนในสังคมหลายวัย หลากเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ อาชีพ มีปรัชญาการดำเนินชีวิตที่แตกต่าง ตั้งแต่ครั้งอดีตและในสภาพกาลปัจจุบัน

ปฏิบัติการชุมชนและเมืองน่าอยู่ เมืองสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
บทความโดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เขียนเมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2559

ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมเมืองสำหรับประเทศไทยยังคงพบปัญหาและอุปสรรคอย่างมากมาย เพราะขาดการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและการเติบโตของเมืองซึ่งมีความซับซ้อนรวมทั้งฐานการศึกษาที่ยังคงมุ่งเน้นอยู่แต่สังคมชนบทมากกว่า ตัวอย่างสำหรับการศึกษาเกี่ยวกับสังคมเมืองในประเทศไทยมีน้อยมาก จนอาจกล่าวได้ว่า เราแทบไม่เคยทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างสังคมเมืองทั้งในอดีตและปัจจุบันอย่างจริงๆ จังๆ เลย

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
บทความโดย มูลนิธิเล็ก - ประไพวิริยะพันธุ์
เขียนเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2559

เมืองสามชุก หนึ่งในเมืองนำร่อง “ โครงการปฏิบัติการชุมชนและเมืองน่าอยู่ ” ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาเมืองแนวใหม่ โดยคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดพัฒนาเมืองของตนเอง เปิดตัวพิพิธภัณฑ์บ้านขุนจำนงจีนารักษ์แล้ว

 
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.