หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
 
สรุปการเสวนาร้านริมขอบฟ้าเรื่อง “แหล่งเรียนรู้มีชีวิต สีสันใหม่ของคนกรุง”

ปัจจุบันกระแสการท่องเที่ยวและเรียนรู้ในเชิงวัฒนธรรมเติบโตมากขึ้น ท่ามกลางการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจการตลาดที่สืบมายาวนาน ดังจะเห็นได้จากการจัดกิจกรรมขององค์กรอิสระและเครือข่ายภาคประชาชน ที่หันมาสนใจสร้างเส้นทางท่องเที่ยวตามวิถีชุมชน เยี่ยมชมย่านเก่าต่างๆ ขณะเดียวกันก็เกิดแหล่งเรียนรู้อื่นๆ โดยภาคประชาชนขึ้นอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ของสะสม ห้องสมุด เป็นต้น จึงเป็นเรื่องน่าสนใจว่ากระบวนการสร้างแหล่งท่องเที่ยวที่มีชีวิตเหล่านี้ เริ่มต้นมาได้อย่างไร และจะมีทิศทางอย่างไรในอนาคต

โดย อภิญญา นนท์นาท
รับรู้เงาประวัติศาสตร์ ในงาน “เปิดตำนาน ๘๐ ปี สะพานพุทธฯ”
โดย ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง
ฟื้นฟูคลองบางลำพู ภาคประชาสังคมเดินหน้าอย่างต่อเนื่อง
โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
ท่องเที่ยวและเรียนรู้เส้นทางวัฒนธรรมย่านบางแค-ภาษีเจริญ
โดย อภิญญา นนท์นาท: รายงาน
“ต้นไม้คือเพื่อนชีวิต เมื่อเราเห็นคุณค่าและใส่ใจ...”
โดย กรรชัย สุนทรอนุรักษ์ เรื่อง/ภาพ
 
 
“ไตเย็บใหม่” ร้านค้ากระดุมเก่าแก่ในย่านพาหุรัด

 “กระดุม” และ “ลวดลายลูกไม้” เย็บปักต่างๆ สำหรับตกแต่งเพื่อให้ชุดเกิดความสวยงามมากขึ้น ร้านขายกระดุมเก่าแก่ที่สุดร้านหนึ่งในย่านพาหุรัด “ร้านไตเย็บใหม่” มีอายุ ๗๐ กว่าปีแล้ว  เจ้าของร้านปัจจุบันกล่าวว่าชื่อร้านมีที่มาจากพี่ชายของคุณพ่อชื่อ ‘ไตเย็บ’ เป็นคนมุสลิมจากประเทศอิหร่านที่อยู่อาศัยในประเทศอินเดียและย้ายเข้ามาอยู่ในประเทศไทย เป็นผู้เปิดร้านไตเย็บใหม่คนแรกและยังเป็นชาวมุสลิมเพียงห้องเดียวที่อาศัยอยู่ในตึกแถวท่ามกลางคนจีนเช่นนี้. 

 

โดย พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์
 
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.