หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
 
โครงการวิจัย
ข้อมูลทั้งหมดมี 3 ข้อมูล
1 จากทั้งหมด 1 หน้า
เสวนาเชิงปฏิบัติการ “ ภูมิวัฒนธรรมท้องทุ่งภาคกลาง ”
บทความโดย เหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ
เขียนเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2560

การเสวนาเชิงปฎิบัติการ "ภูมิวัฒนธรรมท้องทุ่งภาคกลาง"  ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในพื้นที่ท้องทุ่งภาคกลางทั้งในเขตอยุธยาและพื้นที่ใกล้เคียง ที่อาจจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการรื้อฟื้นวิถีชีวิตและการพัฒนาท้องทุ่งภาคกลางโดยคนในตามมาก็เป็นได้

เสวนาโครงการภูมิวัฒนธรรม " พื้นที่ชุ่มน้ำภาคอีสาน "
บทความโดย เหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ
เขียนเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2560

พื้นที่ชุ่มน้ำบริเวณต่างๆ ล้วนได้รับผลกระทบจากคนนอกไม่ว่าจะเป็นเรื่องพื้นที่ ที่ถูกเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ทางการเกษตร เป็นพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม หรือเป็นการเน้นการเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม ทั้งแหล่งน้ำที่มีปริมาณลดลงและเน่าเสีย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อภูมิปัญญาของชาวบ้านรวมถึงวิถีชีวิต...

ผลการศึกษาวิจัย “ ภูมิวัฒนธรรมภาคกลาง ”
บทความโดย ภาณุพงษ์ ไชยคง
เขียนเมื่อวันที่ 22 พ.ย. 2560

การศึกษาภูมิวัฒนธรรมนั้นเป็นเรื่องของการศึกษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (Local history) ในลักษณะ ประวัติศาสตร์มีชีวิต (Living history) ที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรมของผู้คน ซึ่งไม่ใช่ผู้คนที่เป็นปัจเจก แต่เป็นผู้คนที่อยู่ในสังคมและสังคมต้องมีพื้นที่ ดังนั้นจำเป็นต้องเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับผู้คนที่อยู่เป็นกลุ่มและอยู่ในพื้นที่ เพราะการสร้างวัฒนธรรมของผู้คนที่อยู่เป็นกลุ่มเป็นพื้นที่จะสามารถมองเห็นการเคลื่อนไหวได้ แต่ในทางกลับกันถ้าไม่มีผู้คนที่อยู่เป็นกลุ่ม ก็ไม่มีทางศึกษาวัฒนธรรมได้เลย 

 
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.