หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
 
เสวนาและบรรยายสาธารณะ
"เมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ" และการเดินทางย้อนรอยการจัดการเมืองประวัติศาสตร์ที่ไม่มีชีวิต(๔)

ปัญหาพื้นฐานทางความคิดเรื่อง “ความดั้งเดิม ความแท้จริง” [Authenticity] ในการอนุรักษ์เมืองเก่าของประเทศไทยทำให้เกิด ความขัดแย้งในการอนุรักษ์และศึกษาเรื่องเมืองประวัติศาสตร์หรือย่านเก่าต่างๆ คือ ผู้มีหน้าที่อนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์จะเข้าใจว่า ชุมชนเหล่านั้นต้องสืบสายเลือด สืบตระกูลมาจากคนในยุคสร้างบ้าน แปงเมืองและยังต้องทำงานช่างหัตถกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับชุมชนในตำแหน่งที่ระบุไว้ในเอกสารทางประวัติศาสตร์

โดย วลัยลักษณ์ ทรงสิริ
วิกฤตในการจัดการทรัพยากร ๓ จังหวัดภาคใต้ มองความเปลี่ยนแปลงผ่านสายตานักวิจัยชาวบ้านและคนในพื้นที่
โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
นิเวศวัฒนธรรมในหุบปัตตานีและหุบสายบุรี
โดย ศรีศักร วัลลิโภดม
สวยงามบนความเจ็บปวดของเรือกอและ
โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
หวั่นไหวในอ่าวปัตตานี
โดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
 
เสวนาสัญจร "คนค่อนศตวรรษ"
วิดีโอ เสวนา คนค่อนศตวรรษ ส่องซอด สอดส่อง เมืองสกลนคร ( ตอนย่อยที่ 2 )

วิดีโอ ในวันจัดงานเสวนา ส่องซอด สอดส่อง เมืองสกลนคร ตอนย่อยที่ 2

โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
วิดีโอ เสวนา คนค่อนศตวรรษ ส่องซอด สอดส่อง เมืองสกลนคร (ตอนย่อยที่1)
โดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เสวนาสัญจรคนค่อนศตวรรษ ที่กรุงเทพฯ “ไล่รื้อชุมชน” ความขัดแย้งระหว่างกรรมสิทธิ์โดยกฎหมายและสิทธิชุมชน ภาวะล้าหลังทางวัฒนธรรมในเมืองไทย
โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช / เรียบเรียง
ภูมิวัฒนธรรม : ฤาไทสกลกำลังจะตื่น
โดย ประสาท ตงศิริ อดีตประธานหอการค้าจังหวัดสกลนคร
เมืองสกลนครและวาระทางสังคมระหว่างความเป็น‘คนใน’ และ‘คนนอก’
โดย วลัยลักษณ์ทรงศิริ
 
บทความสรุปบรรยายสาธารณะ ปีที่ ๑
 
บทความสรุปบรรยายสาธารณะ ปีที่ ๒
บรรยายสาธารณะ ปีที่ ๒ : ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับผู้นำทางวัฒนธรรม

ผู้นำทางวัฒนธรรมคือจะเป็นคนธรรมดาสามัญก็ได้แต่จะต้องเป็นผู้ที่เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ประกอบคุณงามความดีให้กับผู้คนในท้องถิ่น ในความเป็นจริงกระบวนการสร้างผู้นำทางวัฒนธรรมท้องถิ่นสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาถ้าท้องถิ่นนั้นมีสำนึกชุมชน 

โดย วลัยลักษณ์ทรงศิริ
บรรยายสาธารณะ ปีที่ ๒ : ความสำคัญของ "ปอเนาะ" ในสังคมมุสลิมท้องถิ่นชายแดนใต้
โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช
ประวัติศาสตร์เมืองลำพูนผ่านภาพถ่าย
โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช
บรรยายสาธารณะ ปีที่ ๒ : ‘เมืองลอง’ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของบ้านเมืองขนาดเล็กในรัฐล้านนา
โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช
บรรยายสาธารณะ ปีที่ ๒ : “ภูเก็ตภูมิ [Phuket Scape]”ความเคลื่อนไหวทางสังคมและวัฒนธรรมของคนเมืองภูเก็ต
โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช
 
บทความสรุปบรรยายสาธารณะ ปีที่ ๓
บรรยายสาธารณะ “เมืองอู่ทอง รัฐแรกเริ่มบนแผ่นดินสุวรรณภูมิ”

การค้นคว้าประวัติศาสตร์โบราณคดีเรื่องอู่ทองนั้น ที่ได้ทำการค้นคว้าศึกษาเรื่องอู่ทอง เพราะจะสะท้อนให้เห็นภาพการขยายตัวของบ้านไปสู่เมืองจนไปถึงรัฐ โดยใช้เมืองอู่ทองในการอธิบาย   เมืองอู่ทองเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยความเป็นเมืองท่าที่เป็นนครรัฐไม่ใช่เมืองที่อยู่โดดเดี่ยวแต่มีการติดต่อกับพื้นที่อื่นๆ นักวิชาการจึงเรียกเมืองลักษณะนี้ว่า Port Polity ซึ่งเมืองอู่ทองนั้นถือเป็นเมืองท่าที่เป็นฐานในการพัฒนาการทางสังคมมนุษย์จากบ้าน(Village)ไปสู่เมือง(Town) จนเป็นรัฐ(State) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

โดย ใหม่มณี รักษาพรมราช
"ฟื้นพลังยาไทย..บำรุงชาติสาสนายาไทย" สรุปเสวนาสาธารณะของคนย่านเก่าเมืองกรุงเทพฯ ที่ป้อมมหากาฬ
โดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
 
 
 
 
 
 
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.