หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
คำที่ค้นหาคือ "" มีทั้งหมด 1140 ข้อมูล
Pre  21 22 23 24 25 26 27 28 29 30  Next จากทั้งหมด 228 หน้า
"พระนครชวนชม" จากกิจกรรมพระนคร ๑๐๑ ครั้งที่ ๕ : พระนครยุคสมัยใหม่ย่านถนนการค้าบำรุงเมือง-เฟื่องนคร (๑)
บทความโดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์, สุรชาญ อุ่มลำยอง
เขียนเมื่อวันที่ 20 ก.ย. 2560
หนังสือ "นึกนอกรั้ว" ข้อคิดเห็นเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมผ่านการเดินทางห่างสยามประเทศ
บทความโดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
เขียนเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2560
ศรีอโยธยา : อดีตราชธานีสยามประเทศ
บทความโดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
เขียนเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2560

ทั้งอยุธยาและกรุงเทพฯ ทั้งสองเป็นเมืองที่มีรากฐานของความเป็นชุมชนลุ่มน้ำ ผู้คนมีวิถีชีวิตวัฒนธรรมอยู่กับแม่น้ำลำคลอง การขยายตัวของชุมชนล้วนมีลำน้ำเป็นปัจจัยในการตั้งถิ่นฐานบ้านเมือง "การพัฒนา" อาจจะเป็นสิ่งเดียวกับการทำลายรากเหง้าของสังคมลุ่มน้ำและอัตลักษณ์ของความเป็นเมืองลุ่มน้ำทั้งอยุธยาและกรุงเทพฯ ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงเมืองสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คำนึงถึงรากฐานของบ้านเมือง ไม่เข้าใจพื้นที่ ทำให้การให้ความหมายและความสำคัญของแม่น้ำเปลี่ยนไป

"สองฝั่งคลองผดุงกรุงเกษม ย่านถนนกรุงเกษม ถนนลูกหลวงถึงสี่แยกมหานาค" กับกิจกรรมพระนคร ๑๐๑ ครั้งที่ ๔
บทความโดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
เขียนเมื่อวันที่ 25 ก.ย. 2560

การเปลี่ยนแปลงพื้นที่จากวัง วัด และบ้านพระราชทานสู่ย่านตลาด และชุมชนแออัดที่มีการศึกษาแห่งแรกของประเทศฯ และชุมชนมุสลิมดั้งเดิมนอกพระนคร การทำความเข้าใจพื้นฐานของย่านเมืองเก่าของกรุงเทพฯ

ความก้าวหน้าพิพิธภัณฑ์สมเด็จพระเจ้าตากสิน วัดราชบัลลังก์ปฏิฐาวราราม บ้านทะเลน้อย
บทความโดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์
เขียนเมื่อวันที่ 12 ก.ค. 2560

วัดราชบัลลังก์ฯ เป็นวัดที่มีความเก่าแก่อยู่คู่กับชุมชนบ้านทะเลน้อย พร้อมทั้งยังมีความเชื่อในเรื่องของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชอยู่อย่างแน่นหนา เป็นชุมชนที่มีผู้คนเข้ามาเยี่ยมชมและดูงานอยู่ตลอดอย่างไม่ขาดสาย มูลนิธิฯและชาวบ้านทะเลน้อยร่วมประชุมการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่วัดราชบัลลังก์ มีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น วิถีชีวิตของผู้คน และเป็นพื้นที่สำหรับคนในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน.

ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.