หน้าหลัก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
วันเล็ก-ประไพ รำลึก
ติดต่อเรา
คำที่ค้นหาคือ "" มีทั้งหมด 1140 ข้อมูล
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10  Next จากทั้งหมด 228 หน้า
"พลังท้องถิ่น" ในการฟื้นฟูโบราณสถานวัดโบสถ์(ร้าง) อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
บทความโดย พนมกร นวเสลา
เขียนเมื่อวันที่ 29 ส.ค. 2561
"เมืองประวัติศาสตร์กรุงเทพฯ" และการเดินทางย้อนรอยการจัดการเมืองประวัติศาสตร์ (๒)
บทความโดย วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
เขียนเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 2561

ในขณะที่ชาวบ้านที่อยู่อาศัยโดยทั่วไปนั้นทราบและรับรู้ว่า ชุมชนนั้นมีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา [Living Community] มีผู้ย้ายเข้าและย้ายออกไปโดยเหตุต่างๆ กลุ่มคนดั้งเดิมเป็นใคร และกลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาใหม่คือใคร โดยยอมรับผู้มาใหม่ให้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชนจากการช่วยเหลือและทำกิจกรรมในชุมชนร่วมกัน แต่ก็ยังเป็นชุมชนอยู่ทำให้เกิดปัญหาเมื่อต้องพิจารณาว่าชุมชนใดควรถูกไล่รื้อหรือชุมชนใดควรได้รับการสงวนไว้ และมีสิทธิโดยชอบธรรมในที่อยู่อาศัยนั้น และการประเมินคุณค่าของชุมชนต่างๆ โดยไม่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยรอบด้าน ทำให้เห็นคุณค่าของชุมชนในตรอกซอกซอยต่างๆ น้อยลง เมื่อไม่เข้าใจจึงให้สนใจแต่เฉพาะสิ่งที่เห็นประจักษ์คือโบราณสถานหรือโบราณวัตถุและสิ่งที่จับต้องได้ตามองเห็นเท่านั้น

"คนจน" กับ "วัฒนธรรมความจนในสังคมไทย"
บทความโดย ศรีศักร วัลลิโภดม
เขียนเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2562

แหล่งชุมชนแออัดที่เรียกว่าเป็นแหล่งเสื่อมโทรมดังกล่าวนี้ คือผู้คนภายในที่มีวิถีชีวิตร่วมกันที่ไม่ได้ระดับมาตรฐานของความเป็นอยู่ของความเป็นเมืองคือ “วัฒนธรรมความจน” [The Culture of Poverty] เป็นความยากจนที่มองจากข้างนอกเข้ามา

บ้านนราศิลป์แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชนย่านนางเลิ้ง
บทความโดย จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
เขียนเมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2561

หากพูดถึงบ้านนราศิลป์สมัยก่อนคนจะนึกถึงความเป็นบ้านโขน แต่สิ่งที่นอกเหนือจากโขนที่นี่ยังเป็นบ้านที่ทำละครร้อง ละครวิทยุ ภาพยนตร์ และถือว่าเป็นคนทำคอสตูมเจ้าแรกของประเทศไทยก็ว่าได้ ตั้งแต่สมัยช่อง๔ บางขุนพรหม เมื่อก่อนจะมีสามบ้านที่ร่วมหัวจมท้ายกันคือบ้านนาฏศิลป์สัมพันธ์  บ้านดนตรีคือบ้านดุริยะประณีต และบ้านเครื่องบ้านนราศิลป์ จนกระทั่งร่วมงานกันมาจนถึงทุกวันนี้

วันอีฎิ้ลฟิตริ วันออกบวช หรือวันอีดเล็ก ของชนชาวมุสลิม
บทความโดย จิราพร แซ่เตียว
เขียนเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2561
ที่ตั้งมูลนิธิ ๓๙๗ ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๑๙๘๘ , ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๓๓๔๐
อีเมล์ [email protected]
                    
Copyright © 2011 lek-prapai.org | All rights reserved.